กระเป๋าสาน

กระเป๋าสานผักตบชวา กระเป๋าเงิน, กระเป๋าใส่เศษเหรียญ, ถาดรอง,กล่องทิชชู่ , เสื้ออ่อน

การสร้างความรู้ การสร้างแนวทางการพัฒนาและการสร้างแนว ทางการปฏิบัติรวมถึงใช้เทคนิคการประชุมกลุ่มย่อยเพื่อน าแนวทางที่ได้ไปพัฒนาสินค้า หัตถกรรมสร้างสรรค์ต้นแบบ ผลการวิจัยพบว่า สินค้าหัตถกรรมใหม่ทั้ง 10 ชิ้น ซึ่งเกิดจาก การสร้างสรรค์ของชาวบ้านซึ่งเป็นผู้ผลิตแท้จริง ไม่ใช่นายทุน

“การศึกษาแนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะและวัฒนธรรม สร้างสรรค์“หมู่บ้านถวาย” (หมู่บ้านท่องเที่ยวต้นแบบของประเทศไทย) อย่างยั่งยืน ” (Thanitbenjasith, 2017) พบว่าหมู่บ้านถวายสามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพและมี มาตรฐานได้ เนื่องจากหมู่บ้านถวายเป็นหมู่บ้านที่ประกอบไปด้วยทรัพยากรและทุนทางการท่องเที่ยว ต่างๆที่มีความเป็นเอกลักษณ์ในงานหัตถกรรมไม้แกะสลัก ได้แก่ ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคม ทุน มนุษย์ แต่ยังพบอุปสรรคด้านโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนแหล่งท่องเที่ยวยังมีไม่เพียงพอ ไม่ได้ มาตรฐาน เช่น ห้องน้ า ป้ายบอกทาง ศูนย์อาหาร ที่พักนักท่องเที่ยว รวมถึงด้านนักท่องเที่ยวและด้าน การตลาดท่องเที่ยวที่ยังขาดจุดดึงดูดทางการท่องเที่ยว การสร้างอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และตราสินค้า ของแหล่งท่องเที่ยว การจัดกิจกรรมเชื่อมโยงที่เป็นที่ต้องการ การประชาสัมพันธ์และส่งเสริม การตลาดที่เหมาะสมทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าบ้านถวายขาดระบบกลไกในการบริหารจัดการที่ดี มีการ บริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนไม่มากพอแก่การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้โดดเด่น ให้เป็นที่ ดึงดูดใจและสร้างความพึงพอใจแก่นักท่องเที่ยวและผู้พบเห็นหรือแขกผู้มาเยือนได้ ด้วยเหตุนี้คณะผู้ ศึกษาจึงได้ช่วยจัดท าแผนยุทธศาสตร์ชุมชนและได้บรรจุเรื่องของการบริหารจัดการและพัฒนาสินค้า หัตถกรรมโดยชุมชนให้อยู่ในแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต าบลขุนคง พ.ศ.2557–2559 ซึ่งเป็น โครงการจากชุมชนที่คิดร่วมกันเพื่อการพัฒนาต่อยอดต่อไปให้เกิดความยั่งยืน และนอกจากนี้ผล การศึกษายังพบอีกว่า หากผู้ผลิตและผู้ประกอบการมีองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการการพัฒนา สินค้าหัตถกรรมโดยชุมชนบ้านถวาย